ประวัติของนักปราชญ์ที่สำคัญของโลก
1. alistotle
ประวัติ
อาริสโตเติลเกิดเมื่อประมาณ 384 หรือ 383 ปีก่อนคริสตกาลที่เมืองสตากีรา ในแคว้นมาเซโดเนีย ซึ่งเป็นแคว้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือสุดชองทะเลเอเจียน ของประเทศกรีก เป็นบุตรชายของนายนิโคมาคัส ซึ่งมีอาชีพทางการแพทย์ประจำอยู่ที่เมืองสตาราเกีย และยังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของพระเจ้าอมินตัสที่2 แห่งมาเซโดเนีย
ในวัยเด็กนั้นผู้ที่ให้การศึกษาแก่อริสโตเติลคือบิดาของเขานั้นเองซึ่งเน้นหนักไปในด้านธรรมชาติวิทยา เมื่อเขาอายุได้ 18 ปีก็ได้เดินทางไปศึกษาต่อกับปรัชญาเมธีผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุดนั้นคือ เพลโต ในกรุงเอเธนส์ ในระหว่างการศึกษาอยู่กับเพลโต 20 ปีนั้นทำให้อริสโตเติลเป็นนักปราชญ์ที่ลือนามต่อมาจากเพลโต ต่อมาเมื่อเพลโตถึงแก่กรรมในปี 347 ปีก่อนคริสต์ศักราช อริสโตเติลจึงเดินทางไปรับตำแหน่งเป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ในปี 343- 342ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาในปี 336 ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ได้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากพระเจ้าฟิลิปพระองค์จึงได้พระราชทานทุนให้แก่อริสโตเติลเพื่อจัดตั้งโรงเรียนที่สตากิราชื่อไลเซียม
ในการทำการศึกษาและค้นคว้าของอริสโตเติลทำให้เขาเป็นผู้รอบรู้สรรพวิชา และได้เขียนหนังสือไว้มากมายประมาณ 400 - 1000 เล่ม ซึ่งงานต่าง ๆ ที่ได้เขียนขึ้นมานั้น ได้มีอิทธิพลต่อความเชื่อในศาสนาคริสต์จวบจนกระทั่งยุคกลางหรือยุคมืด ซึ่งมีเวลาประมาณ 1,500 ปีเป็นอย่างน้อย
ปรัชญา
ความหมาย ของปรัชญา คือ ทฤษฎีความรู้ หรือทฤษฎีคุณค่า ,ศาสตร์ซึ่งค้นหาถึงธรรมชาติของสิ่งของที่มีเป็นอยู่ตนเอง และคุณสมบัติตามธรรมชาติของสิ่งนั้นด้วย
วัตถุนิยม(Materialism) หรือประจักษ์นิยม(Realism) เป็นปรัชญาอีกสาขาหนึ่งที่มีต้นเค้าความคิดมาจากปรัชญาสมัยกรีก ปรัชญาวัตถุนิยม มีความเชื่อว่าโลกใบนี้เป็นโลกของวัตถุ(A World of Things) วัตถุย่อมอยู่เหนือจิตใจ แอริสโตเติลเห็นว่าการใคร่ครวญหาเหตุผลด้วยจิตใจอย่าง เดียวไม่เพียงพอจะต้องพิจารณาข้อเท็จจริงตามธรรมชาติ เป็นการมองโลกทางด้านวัตถุและเป็นการเริ่มต้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาสาขานี้มีลักษณะดังนี้
– ความเชื่อของครูตามปรัชญานี้ เชื่อว่า “การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับการมองเห็น” เพราะความรู้เกิดขึ้นจากสิ่งที่มองเห็น หรือเกิดจากสิ่งที่เป็นรูปธรรม รับรู้ได้โดยประสาทสัมผัสทางกาย คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
– วิธีการสอน เน้นการเรียนรู้ที่เกิดจากประสาทสัมผัสทางกายและสิ่งที่เป็นรูปธรรม มากกว่านามธรรม วิธีการสอนจึงมักจะใช้วิธีการสาธิต (Demonstation) โดยใช้อุปกรณ์การสอนต่างๆ
– ตัวผู้เรียน ครูยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางของการสอนมากกว่ายึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการสอน ครูจะเป็นผู้แสดง นักเรียนเป็นผู้ดู ใช้การบอกเล่า บรรยายหรือการให้นักเรียนท่องจำจะมีน้อยลงแต่จะใช้การสาธิตหรือทดลองให้ดู
กล่าวโดยสรุป คือ การเรียนการสอนตามแนววัตถุนิยม เน้นความรู้ที่ได้มาจากประสาทสัมผัสทางกายโดยเฉพาะการดูเป็นหลัก
คำสอน
อริสโตเติลนิยาม คุณธรรม ว่าคือ จุดสมดุลระหว่างความขาดและเกินของคุณลักษณะ โดยคุณธรรมสูงสุดไม่ได้อยู่ที่ตรงกลางๆ แต่อยู่ที่จุดเฉลี่ยทอง ที่บางครั้งก็ใกล้ปลายหนึ่งมากกว่าอีกปลายหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ความกล้าหาญ เป็นจุดเฉลี่ยระหว่าง ความขี้ขลาด กับ ความโง่เขลา ความมั่นใจ เป็นจุดเฉลี่ยระหว่าง ความน้อยเนื้อต่ำใจ กับ ความหลงตัวเอง ความโอบอ้อมอารี เป็นจุดเฉลี่ยระหว่าง ความขัดสน กับ ความฟุ้มเฟือย
อริสโตเติลเชื่อว่า การเป็นคนเป็นสิ่งประเสริญ ที่ได้มีทักษะเในการดำรงชีวิต ในการเจริญก้าวหน้า ในการมีความสัมพันธ์ที่ดี และในการแสวงหาความสุข การเรียนรู้คุณธรรมอาจจะยากตอนแรกๆ แต่มันจะง่ายขึ้นถ้าได้รับการฝึกฝนจนเป็นนิสัย
อริสโตเติลเชื่อว่า การเป็นคนเป็นสิ่งประเสริญ ที่ได้มีทักษะเในการดำรงชีวิต ในการเจริญก้าวหน้า ในการมีความสัมพันธ์ที่ดี และในการแสวงหาความสุข การเรียนรู้คุณธรรมอาจจะยากตอนแรกๆ แต่มันจะง่ายขึ้นถ้าได้รับการฝึกฝนจนเป็นนิสัย
อริสโตเติลนักปราชญ์ชาวกรีก ได้ให้แนวทางของคุณธรรมหลัก ๆ ไว้ ๔ ประการ คือ
๑. ความรอบคอบ คือ รู้ว่าอะไรควรประพฤติปฏิบัติ อะไรไม่ควรประพฤติปฏิบัติ๒. ความกล้าหาญ คือ ความกล้าเผชิญต่อความเป็นจริง
๓. การรู้จักประมาณ คือ รู้จักควบคุมความต้องการและการกระทำให้เหมาะสมกับสภาพและฐานะของตน
๔. ความยุติธรรม คือ การให้แก่ทุกคนตามความเหมาะสม
ทัศนะคติทางการศึกษาและจริยธรรม
มุ่งให้ทุกคนมี คุณงามความดีมีความสุข บรรลุถึงคุณธรรม กระทำโดยมีจิตจำนงที่จะแสวงหาความสุขและความดี อริสโตเติลเชื่อว่าการมีปัญญาไม่ช่วยให้ความสุขและเห็นว่าความดีนั้นจะเกิดขึ้นโดยมีเหตุผลและเหตุผลจะเป็นตัวที่ควบคุมความประพฤติของคน ความดีในทัศนะคติของอริสโตเติลมี2 อย่าง. คือ มีปัญญาดีและมีอุปนิสัยดี การที่มีปัญญาดีเกิดจากการศึกษาเล่าเรียน มีประสบการณ์มาก ส่วนอุปนิสัยดี เกิดจากการถูกอบรมให้เกิดนิสัย สรุปได้ว่า ความดีของคนเราสามารถเห็นได้จากการกระทำ
ผลงาน
ผลงานของเขาที่ได้ทิ้งไว้ให้เป็นสมบัติล้ำค่าของโลก ได้มีส่วนอย่างมากในการสร้างความเจริญทางด้านการศึกษาเกี่ยวกับปรัชญา ชีววิทยา วิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ รัฐศาสตร์ ตรรกวิทยา อักษรศาสตร์ จริยศาสตร์ และอื่น แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1.งานทางด้านอักษรศาสตร์
เช่นบทสนธนา The Dialogues เป็นงานเขียนเลียนแบบคำสนธนาของเพลโต แตมีทัศนะที่แตกต่สงกันออกไป และละเอียดลึกซึ้งกว่าเข้าใจง่ายกว่าของเพลโต มีรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับชีวิตของตัวเองตอนทีีเป็นศิษย์ของเพลโตอยู่ทีีอะคาเดมี ส่วนใหญ่เป็นหลักหรือคำสอนของเพลโต แต่แอริสโตเติลนำาเขียนใหม่ โดยเพิ่มเติมความคิดเห็นชองตนเองเข้าไปด้วย ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น ที่อะคาเดมีเป็นสถาบันส่งเสริมความคิดความอ่านในเรื่องตรรกวิทยา ให้แก่แอริโตเติลอย่างกว้างขวาง รวมทั้งด้านมนุษย์วิทยา ปรัชญา คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ อายุรศาสตร์และชีววิทยา ซึ่งแอริสโตเติลมีความเชี่ยวชาญและสนใจเป็นพิเศษ
2.งานช่วงกลางชีวิต
มีลักษณะคล้ายกับบทสนธนากึ่งตำรา ส่วนใหญ่เป็นงานด้านวิทยาศาสตร์ อักษรศาสตร์และประเพณีวัฒนธรรมต่างๆของกรีก รวมไปถึงงานรวบรวมหลักรัฐศาสตร์และรัฐธรรมนูญของเอเธนส์ เช่น On Monarchy , On Culonies ,The Customs of Bartarians ฯลฯ
3 งานช่วงบั้นปลายของชีวิต
ส่วนใหญ่อยู่รูปของบันทึกการสอน การเตรียมการสอน การอภิปราย การโต้วาที และปาฐกถา ในลักษณะของบันทึกความจำเช่นเดียวกันกับ "ฟื้นความหลัง" ของพระยาอนุมานราชธน แบ่งเป็น3ประเภทใหญ่ๆดังนี้
ประเภทที่1 แอริสโตเติลเรียกว่า การวิเคราะห์ หรือในปัจจุบันนี้คือวิชาตรรกวิทยา ตำราประเภทนี้มีประมาณ 6 เล่ม คือ 1.Categorics 2.De Interpretaion 3.Topics 4.Sophistici 5.Prior 6.Posterior Analytics ในชื่อว่า The Organon และได้กลายเป็นตำราค้นคว้าทางวิชาการที่มีคุณค่า โดยผู้เชี่ยวชาญด้านภาษากรีกได้แปลออกมาเป็นภาษาอังกฤษภาษาฝรั่งเศส และภาษาอื่นๆอีกมากมาย
ประเภทที่2 คือตำราวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ และอนินทรีย์เคมี เช่น Physics , De Caelo, De Generatione et Corruptioe และ Meteorologica
ประเภทที่3 ตำราจิตวิทยาและ ตรรกวิทยา เป็นหนังสือรวมบทความเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ความจำ และจินตนาการของแอริสโตเติล เช่น De Anima ,Parva Naturalia เป็นต้น
2.plato
ประวัติ
เกิด พ.ศ. 116-196 มีชื่อเดิมว่า อาริสโตเคล็ส (Aristocles) ที่กรุงเอเธนส์ พลาโต้ได้ฟังปรัชญาจากโสคราตีสเมื่อตนได้มีอายุได้ 20 ปีแล้ว จนกระทั่งโสคราตีสถูกประหารชีวิตในปีพ.ศ.144 ต่อมาได้ศึกษาปรัชญาของยูคลิเดส (Euclides) ผู้เป็นลูกศิษย์ของโสคราตีส ซึ่งได้นำปรัชญาของโสคราตีสเข้ากับปรัชญาของปาร์มีนิเดส และยังได้ศึกษาปรัชญาจากสำนักของไพธากอรัส ที่กรุงเอเธนส์นั้น ท่านวางมือจากการเมืองที่ยุ่งเหยิง และเลือกดำเนินชีวิตอย่างนักปรัชญา โดยสร้างคนให้เป็นนักปรัชาและนักปกครองที่ดี พลาโต้ตั้งสำนักแห่งหนึ่งชื่อว่า อะคาเดมี (Academy) ให้การศึกษาแก่เยาวชนกรีก นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของกรีก โดยให้เด็กหนุ่มที่ต้องการศึกษา มุ่งมาสมัครเรียนที่นั้น พลาโต้เห็นว่า “นักปกครองที่ดีต้องมีความรู้ทั้งที่เป็นวิทยาศาสตร์ และปรัชญาการเมือง” วิชาหลักที่คงอยู่ที่ใช้ทำการสอน ได้แก่ คณิตศาสตร์และปรัชญาการเมือง พลาโต้มีศิษย์คนสำคัญชื่อว่า อารีสโตเติ้ล เป็นผู้ที่เข้าศึกษาที่อะคาเดมี ในเวลาต่อมาเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงมาก พลาโต้ได้เขียนบทสนทนาเรื่อง “กฎหมาย” (Laws) มีความยาวถึง 12 เล่ม งานนิพนธ์ของพลาโต้แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ บทสนทนาระยะแรก,ระยะที่สอง,ระยะที่สาม ซึ่งจะมีตัวละครแสดงบทสนทนาต่างๆ โดยสมมติให้ตัวละครเป็นตัวของท่าน และบุคคลอื่น ๆ เป็นต้น คำสอนที่ถือว่าเป็นหัวใจปรัชญาของพลาโต้ คือทฤษฎีมโนคติหรือแบบคำสอนอื่น ๆ เช่น ทฤษฎีความรู้ จริยศาสตร์ ศิลป และการเมือง ล้วนมีรากฐานมาจากทฤษฎีมโนคติ ดังนั้น เราจะพบว่า ปรัชญาแต่ละประเด็นของพลาโต้ เกาะกลุ่มกันเป็นระบบโดยมีทฤษฎีมโนคติเป็นแกนกลาง พลาโต้เป็นคนแรกที่สอนปรัชญาอย่างเป็นระบบ ท่านเห็นว่าความรู้ระดับผัสสะ หรือสัญชาน ไม่ใช่ “ความรู้” การรับรู้ในระดับสัญชานเป็นเพียง “ทัศนะ” การปฏิเสธสัญชานว่าเป็นบ่อเกิดความรู้นี้มีเหตุผลสำคัญอยู่ 2 ประการ คือ
1) สัญชานของแต่ละคนให้ความรู้เป็นตรงกัน
2) สัญชานไม่ช่วยให้เราค้นพบความจริงแท้
2) สัญชานไม่ช่วยให้เราค้นพบความจริงแท้
1.จินตนาการ (Imagining) ให้ความหมายที่ว่า ขณะที่ตาสัมผัสกับภาพของสิ่งใดสิ่งหนึ่งการรับรู้ได้เกิดขึ้น ประสาทตาารายงานภาพที่เห็นไปที่จิต ภาพของสิ่งนั้นที่จิตรับรู้ในขณะนั้นเป็นจินตภาพ (Image) การรับรู้จินตภาพเรียกว่า “จินตนาการ” เป็นการรับรู้ขั้นต่ำสุด เพราะภาพที่จิตคิดเห็นเป็น “ภาพเหมือน” หรือ”เงา” หากใครไปยึดมั่นในภาพเหมืนหรือจินตภาพ เขาก็กำลังนี้จากความจริงนั่นเอง
2.ความเชื่อ (Belief) ความหมายที่ว่า เมื่อเราคิดถึงใครสักคน เราสร้างจินตนาการคิดถึงรูปร่างหน้าตากิริยาท่าทางของเขา แต่เขาคนนั้นที่เราเห็นในจินตภาพย่อมสู้ที่เราเห็นและได้พบปะตัวจริงไม่ได้ การได้พบตัวจริง ถือว่าเป็นความรู้ระดับสัญชาน ท่านเรียกความรู้ระดับนี้ว่าความเชื่อ จะเห็นว่าสัญชานให้ความรู้ที่ขัดแย้งตัวเอง เช่น น้ำทะเลปรากฏแก่สายตาเราเป็นสีน้ำเงิน แต่พอเราเอาภาชนะตักน้ำขึ้นมาเราเห็นเป็นน้ำใสเป็นต้น ดังน้น ใครเห็นอะไรเป็นจริงจึงเป็นเพียงความเชื่อ คือยอมรับว่าจริงไปพลาง ๆ ก่อน
3. การคำนวณ (Reasoning) การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เป็นก้าวจากโลกแห่งผัสสะสู่โลกแห่งเหตุผล ในโลกแห่งผัสสะ เรารับรู้สิ่งเฉพาะ แต่ในโลกแห่งเหตุผล เราค้นพบสิ่งสากล นักคณิตศาสตร์อาศัยสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นสิ่งเฉพาะเพื่อเป็นทางผ่านเข้าสู่สิ่งสากล เช่น นักคณิตศาสตร์ลากเส้นตรงในหน้ากระดาษ เพื่อประกอบการคำนวณ เส้นตรงนั้นอาจจะคดเคี้ยวบ้าง แต่ไม่ทำให้การคำนวณผิดพลาด เพราะอะไร ? เพราะเส้นตรงนั้นเป็นเพียงสัญลักษณ์หรือตัวแทนของเส้นที่ตรงที่สุด ในการคำนวณนักคณิตศาสตรืไม่ได้กำลังพูดถึงสิ่งเฉพาะคือเส้นตรง ที่ปรากฏในหน้ากระดาษนั้น แต่เขาพูดถึงสิ่งที่เป็นสากลอยู่ เขาแยกสัญลักษณ์หรือสิ่งที่เห็นด้วยตาออกจากมโนคติ หรือสิ่งที่เห็นด้วยเหตุผลบริสุทธิ์ ดังนั้น พลาโต้จึงจัดความรู้ของนักคณิตศาสตร์ไว้ในขั้น”ความรู้” เพราะเขาค้นพบมโนคติบางหน่วย แต่นักคณิตศาสตร์ยังอาศัยสัญลักษณ์และยังตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) โดยยอมรับว่าสมมติฐานเป็นสิ่งที่เห็นจริงแล้ว ความรู้ของนักคณิตศาสตร์ จึงอยู่ในวงจำกัดของสัญลัษณ์และสมมติฐาน
4.พุทธิปัญญา (Intelligence) หมายถึง สภาพจิดใจที่รับรู้มโนคติโดยตรง ในขั้นนี้ จิตเป็นอิสระจากสิ่งที่รับรู้ด้วยประสาทสัมผัส จิตเข้าถึงมโนคติได้โดยไม่ต้องผ่านสัญลักษณ์ และจิตไม่จำเป็นต้องใช้สมมติฐานในการค้นหาความจริง เมื่อไม่มีสมมติฐาน ข้อจำกัดของความรู้จึงไม่มี เหตุนี้จิตจึงค้นพบเอกภาพของมโนคติทั้งหลาย นั่นคือ จิตพบว่ามโนคติทั้งหมดอยู่ภายใต้มโนคติควาามดีและรวบรวมมโนคติทั้งหมดไว้ได้ก็ด้วยพลังของจิต พลาโต้เรียกพลังชนิดนี้ว่า “วิภาษวิธี”(Dialectic) ดังนั้น พุทธิปัญญา จึงเป็นความรู้ที่แท้จริง เพราะเข้าถึงความจริงสูงสุด คือมโนคติ เราย้อนหลังไปยุคแรก ๆ นักปรัชญายุคเริ่มต้นได้สอนว่า แก่นแท้ของสรรพสิ่งเป็นสสารในรูปใดรูปหนึ่ง แต่พลาโต้เสนอใหม่ว่า แก่นแท้ของสรรพสิ่งไม่ใช่สสาร แต่เป็นมโนคติที่ไม่กินที่ ไม่มีรูปร่าง คำสอนของพลาโต้ยังได้หักล้างปรัชญาของโซฟิสสต์ผู้สอนว่า ความรู้แท้จริงอันเป็นมาตรฐานสากลไม่มี เพราะว่าสิ่งที่เรารับรู้เป็นสสารที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในที่นี้ พลาโต้แย้งว่า ความรู้ที่แท้สมบูรณ์มีอยู่ เพราะสิ่งที่เรารับรู้ไม่ใช่สสารวัตถุ แต่เป็นมโนคติที่เป็นอมตะและไม่เปลี่ยนแปลง ทัศนะมโนคติของพลาโต กล่าวว่า มโนภาพเป็นอันเดียวกับสิ่งสากล และมโนคติ คือ มโนภาพที่มีอยู่จริงภายนอกความคิดคือ ”สิ่งสากลที่มีอยู่จริงภายนอกความคิด “หรือ”สิ่งสากลที่มีอยู่จริงแบบปรนัย” พลาโตยืนยันว่า สิ่งสากลมีอยู่จริง จึงไม่ใช่สิ่งที่เราคิดขึ้นเอง มันไม่ใช่ผลผลิตของความคิด สิ่งสากลมีอยู่ก่อนหน้าที่เราคิด และแม้เราจะเลิกคิดถึง สิ่งสากลก็ยังคงมีอยู่ตลอดไปเป็นนิจนิรันดร “พลาโตเรียกสิ่งสากลอันเป็นความจริงอมตะนั้นว่ามโนคติหรือแบบ ดังนั้นลักษณะของมโนคติสรุปโดยทั่วไป คือ
2.ความเชื่อ (Belief) ความหมายที่ว่า เมื่อเราคิดถึงใครสักคน เราสร้างจินตนาการคิดถึงรูปร่างหน้าตากิริยาท่าทางของเขา แต่เขาคนนั้นที่เราเห็นในจินตภาพย่อมสู้ที่เราเห็นและได้พบปะตัวจริงไม่ได้ การได้พบตัวจริง ถือว่าเป็นความรู้ระดับสัญชาน ท่านเรียกความรู้ระดับนี้ว่าความเชื่อ จะเห็นว่าสัญชานให้ความรู้ที่ขัดแย้งตัวเอง เช่น น้ำทะเลปรากฏแก่สายตาเราเป็นสีน้ำเงิน แต่พอเราเอาภาชนะตักน้ำขึ้นมาเราเห็นเป็นน้ำใสเป็นต้น ดังน้น ใครเห็นอะไรเป็นจริงจึงเป็นเพียงความเชื่อ คือยอมรับว่าจริงไปพลาง ๆ ก่อน
3. การคำนวณ (Reasoning) การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เป็นก้าวจากโลกแห่งผัสสะสู่โลกแห่งเหตุผล ในโลกแห่งผัสสะ เรารับรู้สิ่งเฉพาะ แต่ในโลกแห่งเหตุผล เราค้นพบสิ่งสากล นักคณิตศาสตร์อาศัยสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นสิ่งเฉพาะเพื่อเป็นทางผ่านเข้าสู่สิ่งสากล เช่น นักคณิตศาสตร์ลากเส้นตรงในหน้ากระดาษ เพื่อประกอบการคำนวณ เส้นตรงนั้นอาจจะคดเคี้ยวบ้าง แต่ไม่ทำให้การคำนวณผิดพลาด เพราะอะไร ? เพราะเส้นตรงนั้นเป็นเพียงสัญลักษณ์หรือตัวแทนของเส้นที่ตรงที่สุด ในการคำนวณนักคณิตศาสตรืไม่ได้กำลังพูดถึงสิ่งเฉพาะคือเส้นตรง ที่ปรากฏในหน้ากระดาษนั้น แต่เขาพูดถึงสิ่งที่เป็นสากลอยู่ เขาแยกสัญลักษณ์หรือสิ่งที่เห็นด้วยตาออกจากมโนคติ หรือสิ่งที่เห็นด้วยเหตุผลบริสุทธิ์ ดังนั้น พลาโต้จึงจัดความรู้ของนักคณิตศาสตร์ไว้ในขั้น”ความรู้” เพราะเขาค้นพบมโนคติบางหน่วย แต่นักคณิตศาสตร์ยังอาศัยสัญลักษณ์และยังตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) โดยยอมรับว่าสมมติฐานเป็นสิ่งที่เห็นจริงแล้ว ความรู้ของนักคณิตศาสตร์ จึงอยู่ในวงจำกัดของสัญลัษณ์และสมมติฐาน
4.พุทธิปัญญา (Intelligence) หมายถึง สภาพจิดใจที่รับรู้มโนคติโดยตรง ในขั้นนี้ จิตเป็นอิสระจากสิ่งที่รับรู้ด้วยประสาทสัมผัส จิตเข้าถึงมโนคติได้โดยไม่ต้องผ่านสัญลักษณ์ และจิตไม่จำเป็นต้องใช้สมมติฐานในการค้นหาความจริง เมื่อไม่มีสมมติฐาน ข้อจำกัดของความรู้จึงไม่มี เหตุนี้จิตจึงค้นพบเอกภาพของมโนคติทั้งหลาย นั่นคือ จิตพบว่ามโนคติทั้งหมดอยู่ภายใต้มโนคติควาามดีและรวบรวมมโนคติทั้งหมดไว้ได้ก็ด้วยพลังของจิต พลาโต้เรียกพลังชนิดนี้ว่า “วิภาษวิธี”(Dialectic) ดังนั้น พุทธิปัญญา จึงเป็นความรู้ที่แท้จริง เพราะเข้าถึงความจริงสูงสุด คือมโนคติ เราย้อนหลังไปยุคแรก ๆ นักปรัชญายุคเริ่มต้นได้สอนว่า แก่นแท้ของสรรพสิ่งเป็นสสารในรูปใดรูปหนึ่ง แต่พลาโต้เสนอใหม่ว่า แก่นแท้ของสรรพสิ่งไม่ใช่สสาร แต่เป็นมโนคติที่ไม่กินที่ ไม่มีรูปร่าง คำสอนของพลาโต้ยังได้หักล้างปรัชญาของโซฟิสสต์ผู้สอนว่า ความรู้แท้จริงอันเป็นมาตรฐานสากลไม่มี เพราะว่าสิ่งที่เรารับรู้เป็นสสารที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในที่นี้ พลาโต้แย้งว่า ความรู้ที่แท้สมบูรณ์มีอยู่ เพราะสิ่งที่เรารับรู้ไม่ใช่สสารวัตถุ แต่เป็นมโนคติที่เป็นอมตะและไม่เปลี่ยนแปลง ทัศนะมโนคติของพลาโต กล่าวว่า มโนภาพเป็นอันเดียวกับสิ่งสากล และมโนคติ คือ มโนภาพที่มีอยู่จริงภายนอกความคิดคือ ”สิ่งสากลที่มีอยู่จริงภายนอกความคิด “หรือ”สิ่งสากลที่มีอยู่จริงแบบปรนัย” พลาโตยืนยันว่า สิ่งสากลมีอยู่จริง จึงไม่ใช่สิ่งที่เราคิดขึ้นเอง มันไม่ใช่ผลผลิตของความคิด สิ่งสากลมีอยู่ก่อนหน้าที่เราคิด และแม้เราจะเลิกคิดถึง สิ่งสากลก็ยังคงมีอยู่ตลอดไปเป็นนิจนิรันดร “พลาโตเรียกสิ่งสากลอันเป็นความจริงอมตะนั้นว่ามโนคติหรือแบบ ดังนั้นลักษณะของมโนคติสรุปโดยทั่วไป คือ
- มโนคติ หมายถึง สิ่งสากล
- มโนคติ มีจำนวนมาก แต่ความหมายของมโนคติมีข้อจำกัด กล่าวคือ สิ่งเฉพาะชนิดหนึ่งมีมโนคติเพียงหนึ่งเดียว
- มโนคติ เป็นสิ่งที่เรารู้ได้ด้วยเหตุผล
- มโนคติเป็นความจริงปรนัย
- มโนคติเป็นสิ่งไม่กินที่
- มโนคติไม่ขึ้นกับเวลา
พลาโตได้ตั้งทฤษฎีสองโลกขึ้น คือโลกแห่งผัสสะกับโลกแห่งมโนคติ นี่เป็นคำถามเกี่ยวข้องกันระหว่างมโนคติกับสิ่งเฉพาะ ท่านกล่าวว่า สิ่งเฉพาะเป็น “แบบจำลอง”หรือ”สิ่งเลียนแบบ” สิ่งเฉพาะขอยืมความจริงมาจากมโนคติ สิ่งเฉพาะเป็นจริงก็ต่อเมื่อมันมีส่วนเหมือนมโนคติ เช่น โสคราตีส เป็นสิ่งเฉพาะที่เป็นแบบจำลองมาจากมโนคติของคน แบบจำลองมีความเป็นจริงน้อยกว่ามโนคติ มโนคติมีความจริงแท้สูงสุด เราสังเกตเห็นว่า พลาโตเปลี่ยนทฤษฎีมโนภาพของโสคราตีสเป็นทฤษฎีมโนคติ โดยทำมโนภาพให้กลายเป็นสิ่งที่มีความจริงในตัวเอง ผลที่ออกมาก็คือ มโนภาพกลายเป็นมโนคติที่มีความจริงแบบปรนัย และเป็นสิ่งที่คงที่ถาวร ในการอธิบาย”ลักษณะ”ของมโนคติเช่นนั้น ท่านหยิบยกเอาลักษณะของภาวะ (Being) ในปรัชญาของปาร์มีนิเดสมาสวมใส่ให้กับมโนคติ เหตุนั้นมโนคติจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับภาวะของปาร์มีนิเดส คือความเป็นจริงแท้สูงสุดและเป็นสิ่งคงที่ถาวรไม่เคยเปลี่ยนแปลง ท่านไม่ยอมรับทัศนัของปาร์มีนิเดสที่ว่า ความจริงแท้หรือภาวะ เป็นสิ่งเนื้อเดียวกันแบ่งแยกไม่ได้ ท่านเสนอว่าความจริงแท้หรือมโนคติมีหลายชนิดและเกาะกลุ่มกันอย่างมีระบบในโลกแห่งมโนคติ ความจริงแท้มีมากหลายแต่ก็อยูอย่างมีเอกภาพ ท่านได้แนวความคิดเรื่องเอกภาพในความมากหลายนี้มาจาก เฮราคลีตุส ผู้มีทัศนะว่า สิ่งที่แตกต่างกันรวมตัวเป็นเอกภาพ ภายใต้การควบคุมของวจนะ (Logos) ท่านนำหลักการนี้มาสร้างเป็นกฏแห่งความสัมพันธ์ระหว่างมโนคติทั้งหลาย เราได้พบร่องรอยของแนวความคิดเรื่องภาวะในปรัชญาของปาร์มีนิเดส และวจนะในปรัชญาของเฮราคลีตุสผสมผสานอยู่ในทฤษฎีมโนคติของพลาโต นี่เป็นตัวอย่างของการประนีประนอม หลักการที่ขัดแย้งกัน พลาโตยังยอมรับแนวความคิดที่ว่า ความจริงแท้เป็นสิ่งไม่เปลี่ยนแปลงมาจากปาร์มีนิเดส ท่านยืนยันว่าโลกแห่งมโนคติไม่เคยเปลี่ยนแปลง และพลาโตยังยอมรับทฤษฎีแห่งความเปลี่ยนแปลงของเฮราคลีตุสโดยกล่าวว่า โลกแห่วผัสสะเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลง แต่โลกแห่งผัสสะไม่ใช่ความจริงแท้สำหรับพลาโต ท่านให้ทัศนะเรื่องจักรวาลวิทยาว่า เป็นการศึกษาที่ว่าด้วยเรื่องวิญญาณและความสัมพันธ์ระหว่างวิญญาณกับพฤติกรรมของมนุษย์ โดยท่านได้แบ่งวิญญาณเป็น 2 ส่วนคือ
วิญญาณแห่งเหตุผล (Rational Soul ) เป็นวิญญาณที่จุติจากโลกแห่งมโนคติมาประจำอยู่ในกายเนื้อ พระเจ้าทรงสร้างวิญญาณเหล่านี้ให้เป็นอมตะ
วิญญาณไร้เหตุผล (Irrational Soul) เป็นวิญญาณที่ประจำอยู่กับร่างกายเกิดและดับพร้อมกับร่างกายจึงไม่เป็นอมตะ เทวดาเป็นผู้สร้างร่างกาย และวิญญาณส่วนนี้ของมนุษย์ ยิ่งไปกว่านี้ วิญญาณส่วนที่ 2 นี้ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น 2 ส่วนคือ
วิญญาณแห่งเหตุผล (Rational Soul ) เป็นวิญญาณที่จุติจากโลกแห่งมโนคติมาประจำอยู่ในกายเนื้อ พระเจ้าทรงสร้างวิญญาณเหล่านี้ให้เป็นอมตะ
วิญญาณไร้เหตุผล (Irrational Soul) เป็นวิญญาณที่ประจำอยู่กับร่างกายเกิดและดับพร้อมกับร่างกายจึงไม่เป็นอมตะ เทวดาเป็นผู้สร้างร่างกาย และวิญญาณส่วนนี้ของมนุษย์ ยิ่งไปกว่านี้ วิญญาณส่วนที่ 2 นี้ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น 2 ส่วนคือ
- วิญญาณฝ่ายสูง เรียกว่า วิญญาณแห่งเจตนารมณ์ (Spirited Soul)
- วิญญาณฝ่ายต่ำ เรียกว่า วิญญาณแห่งความต้องการ (Appetitive Soul)
3.herodotus
ประวัติ
ปราชญ์ตะวันตกยกย่อง Homer ว่าเป็นบิดาแห่งกาพย์กลอน นับถือ Demosthenes ว่าเป็นบิดาแห่งสุนทรพจน์ และชื่นชม Herodotus ว่าคือบิดาแห่งประวัติศาสตร์ เพราะ Herodotus เป็นผู้ริเริ่มกระบวนการบันทึกเหตุการณ์ และกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ รวมถึงการนำนิทาน เรื่องเล่า และตำนานมาให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ เข้าใจ และให้อนุรักษ์ความรู้เหล่านั้นไม่ให้สูญหายไปจากโลก
Herodotus เกิดที่เมือง Halicarnassus ใน Asia Minor เมื่อประมาณ 484 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยที่ Herodotus ยังอยู่ในวัยเยาว์ เมือง Halicarnassus มีกษัตริย์ชื่อ Lygdanis ปกครอง เพราะพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่โหดร้าย และทารุณ Herodotus กับลุงชื่อ Panyasis จึงได้เข้าร่วมขบวนต่อต้านการปกครองของ Lygdanis เมื่อลุงถูกตัดสินประหารชีวิต Herodotus ได้หลบหนีไปอาศัยอยู่ที่เกาะ Samos เป็นเวลา 8 ปี
เมื่อกษัตริย์จอมโหดถูกปลงพระชนม์ Herodotus ได้เดินทางกลับบ้านเกิดเมืองนอน แต่ได้พบว่าเจ้าเมืองใหม่ ยังทำตนเป็นศัตรู Herodotus จึงตัดสินใจหลบหนีจาก Halicarnassus อย่างถาวร และได้วางแผนเดินทางไปท่องเที่ยวในดินแดนต่างๆ ของโลก
เพราะ Athens ณ เวลานั้น คือศูนย์กลางวัฒนธรรม และอารยธรรมของโลก Herodotus จึงเดินทางไป Athens และได้พบเพื่อนใหม่หลายคน เช่น Sophocles กับ Pericles ผู้มีชื่อเสียงด้านการประพันธ์บทละคร และสถาปัตยกรรม ส่วน Herodotus ได้ยึดอาชีพเป็นคนอ่านผลงานเขียนของตนให้ชาวเมือง Athens ฟัง ซึ่งก็ได้ทำให้ชาวเมืองชื่นชม Herodotus มาก จนถึงกับขอเงินจากผู้บริหารนคร Athens มามอบให้ Herodotus เป็นค่าตอบแทน
การมีนิสัยรักการท่องเที่ยว ทำให้ Herodotus พักอยู่ที่ Athens ได้ไม่นาน จึงได้เดินทางไปท่องเที่ยวที่อียิปต์ตอนบน แล้วเดินทางต่อไป Babylon และ Susa ใน Persia จากนั้นได้ล่องเรือใน Black Sea ถึงปากแม่น้ำ Danube ผ่านแหลม Crimea แล้วลัดเลาะไปตามชายฝั่งของ Syria จนถึงประเทศ Libyaจากนั้นก็เดินทางกลับถึง Athens เมื่อปี 432 ก่อนคริสตกาล
Herodotus เสียชีวิตในอีก 17 ปีต่อมา
ในสมัยเมื่อ 600 ปีก่อนคริสตกาล กรีซมีนักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่หลายคน เช่น Heraclitus ผู้เคยกล่าวว่า มนุษย์จะต้องเรียนรู้ธรรมชาติของตน และสิ่งแวดล้อม ครั้นเมื่อ Heraclitus พบว่าชาติต่างๆ มีศีลธรรมที่แตกต่างกัน และมีวิธีคิดที่ไม่เหมือนกัน เขาจึงได้เสนอแนะให้คนกรีกเปลี่ยนแนวคิดจากการเชื่อศรัทธาในเทพเจ้ามาเป็นการตั้งคำถามหาเหตุผลสำหรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทุกเรื่อง โดย Heraclitus เชื่อว่าการสังเกตผล จะทำให้มนุษย์รู้สาเหตุ และใช้ความรู้ที่ได้คาดการณ์อนาคตได้
Thales แห่ง Miletus ก็เป็นปราชญ์อีกผู้หนึ่งในยุคเดียวกัน ผู้เชื่อว่า เอกภพมีการกำเนิด และการแตกดับ การศึกษาธรรมชาติอย่างเป็นระบบทำให้ Thales รู้ว่าอุปราคาต่างๆ เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แน่นอน เช่น Thales รู้ว่าได้เคยเกิดสุริยุปราคาเหนือ Asia Minor เมื่อ 585 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น
ส่วน Anaximander นั้น เป็นนักดาราศาสตร์ผู้พยายามเสาะหาความเป็นระบบของหมู่ดาวต่างๆ บนท้องฟ้า และเชื่อว่าธรรมชาติ กับสังคมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
Herodotus ใช้ชีวิตใน Athens โดยการเล่าเรื่องที่เกี่ยวกับชีวิต และผลงานของผู้คนในต่างแดน โดยได้เสริมเนื้อหาให้คนฟังรู้สึกสนุก มากกว่าจะมุ่งให้คนฟัง รู้ความจริงที่ Herodotus รู้จัก ดังนั้น วิธีเขียนประวัติศาสตร์ ของ Herodotus จึงมิใช่ประวัติศาสตร์ที่เรารู้จักในปัจจุบัน เพราะไม่แม่นยำ และถูกต้องในเชิงปริมาณและข้อมูล
จุดด้อยของ Herodotus อีกประเด็นหนึ่ง คือ การชอบอ้างเทพเจ้าว่ามีบทบาทในการกำหนดชะตาชีวิตของคน และเหตุการณ์ต่างๆ แต่เราก็ต้องตระหนักว่า คนในสมัยนั้นแทบทุกคนศรัทธาในเทพเจ้า ดังนั้นเมื่อ Herodotus ต้องการให้ผู้อ่านชื่นชม และสนุกกับเนื้อหาที่เขาเขียน เขาจึงอ้างเทพเจ้าบ่อย เช่น Herodotus เขียนว่า การที่กษัตริย์ Xerxes แห่งอาณาจักร Persia ทรงปราชัยในการทำสงครามกับกรีซ เพราะเทพเจ้า ไม่ประสงค์จะให้พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ปกครองทั้งยุโรป และเอเชีย เป็นต้น
ดังนั้นในภาพรวม ผลงานของ Herodotus คือ การสร้าง (เล่า) อดีตให้คนปัจจุบันได้รับรู้ และเก็บให้คนรุ่นหลังอ่าน และเข้าใจ เพราะเนื้อหาที่สมควรจะเล่ามีมาก และหลากหลาย Herodotus เองจึง กล่าวว่ามันเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ที่คนๆ เดียว จะสามารถบันทึกทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นได้หมด จะอย่างไรก็ตาม Herodotus คิดว่า กำลังใจและความกล้าหาญ คือ สาเหตุสำคัญที่จะทำให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง
ในหนังสือ History of the Persian Wars ที่ Herodotus เรียบเรียงนั้น เขาได้เล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 504 ปีก่อนคริสตกาลว่า เวลานั้นเป็นช่วงเวลาที่อาณาจักร Persia กำลังแผ่อำนาจและอิทธิพลเข้าสู่กรีซ และกษัตริย์ Persia ทรงบังคับให้ชาวกรีกส่งบรรณาการไปถวาย แต่ชาว Athens ขัดขืนไม่ยินยอม กษัตริย์ Darius จึงทรงกรีฑาทัพบุกกรีซ เมื่อ 490 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีจุดมุ่งหมายจะจับคนกรีกไปเป็นทาสรับใช้ในอาณาจักร Persia
เมื่อกองทัพที่เกรียงไกรของ Darius เดินทางถึงอ่าว Marathon ซึ่งอยู่ห่างจาก Athensประมาณ 40 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวเมือง Marathon ไม่คิดต่อสู้ เพราะไม่ต้องการจะเสียเลือดเนื้อ แต่ชาว Athens ไม่คิดเช่นนั้น
ทหาร Athens 11,000 คน (ซึ่งมีจำนวนน้อยกว่ากองทัพของ Darius) ภายใต้การนำของ Miltiades ได้ขอให้รัฐ Sparta ส่งทหารมาช่วย โดย Herodotus เล่าว่าผู้ครองนคร Athens ได้ให้นักวิ่งคนหนึ่งชื่อ Philippides วิ่งจาก Athens ไป Sparta เพื่อขอกำลังมาเสริม ในขณะเดียวกัน แต่ในกรีซก็มีเรื่องเล่าเช่นกันว่านักวิ่งชื่อ Pheidippides ได้วิ่งระยะทาง 35 กิโลเมตร จากสนามรบที่ Marathon ไป Athens เพื่อบอกชาวเมือง Athens ว่า กองทัพกรีซมีชัยชนะเหนือกองทัพ Persia และทันทีที่บอกข่าวจบ Pheidippides ก็ล้มลงและขาดใจตาย เรื่องเล่านี้ กับเรื่องที่ Herodotus เขียน มีนักวิ่งที่มีชื่อคล้ายกัน แต่จนกระทั่งทุกวันนี้ ก็ไม่มีใครมั่นใจว่า เรื่องใดจริง เรื่องใดโกหก หรือโกหกทั้งสองเรื่อง
จะอย่างไรก็ตามการพ่ายแพ้สงครามของกองทหาร Persia ครั้งนั้นได้ทำให้ Herodotus สรุปว่าเป็นจุดหักเหที่สำคัญของประวัติศาสตร์ยุโรป และเอเชีย
การพ่ายแพ้สงครามครั้งนั้นได้ทำให้กองทัพ Persia เสียขวัญมาก กษัตริย์ Darius ได้ทรงดำริจะส่งกองทัพมารุกรานกรีซอีก แต่พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เสียก่อน และกษัตริย์ Xerxes ผู้ทรงขึ้นครองราชย์แทน ได้ทรงคิดจะเข้าครอบครองอียิปต์แทน แต่ขุนนางชื่อ Mardonius ได้ทูลว่า กษัตริย์ Xerxes พระองค์ทรงมีพระบารมีสูงพอที่จะทรงเป็นกษัตริย์แห่งยุโรป และเอเชียได้ ดังนั้น กษัตริย์ Xerxes จึงทรงดำริจะยึดครองกรีซอีก ถึงอำมาตย์หลายคนจะไม่เห็นด้วย แต่ไม่มีใครกล้าทูลค้านกษัตริย์ Xerxes
เมื่อ 480 ปีก่อนคริสตกาล กองทัพของ Xerxes ได้เดินทางถึง Hellespont และ Herodotus ได้เขียนบรรยายว่า ทหาร Persia 15,000 คน ที่สวมเกราะทองคำได้เดินทาง 7 วัน 7 คืน มุ่งสู่กรีซ ทั้งๆ ที่เทพ Apollo ทรงเตือนว่า ถ้าทหารกรีกต่อสู้นั่นหมายถึงกองทัพ Persia จะพ่ายแพ้ แต่ Xerxes ทรงคิดว่า สังคมกรีกเป็นสังคมที่อ่อนแอ เพราะผู้คนมีความแตกแยกมาก และผู้ครองประเทศไม่มีนโยบายที่แน่นอน
แต่ Xerxes ทรงคิดผิด เพราะกองทัพกรีกภายใต้การนำของ Leonidas มีทหารกล้าตายเป็นจำนวนมาก โดย Leonidas ได้คัดเอาเลือกคนที่มีบุตรชายแล้วมาเป็นทหารทัพหน้า ส่วนคนที่เป็นโสด หรือยังไม่มีลูกชายสืบสกุล Leonidas ได้จัดให้อยู่ทัพหลัง
Herodotus เกิดที่เมือง Halicarnassus ใน Asia Minor เมื่อประมาณ 484 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยที่ Herodotus ยังอยู่ในวัยเยาว์ เมือง Halicarnassus มีกษัตริย์ชื่อ Lygdanis ปกครอง เพราะพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่โหดร้าย และทารุณ Herodotus กับลุงชื่อ Panyasis จึงได้เข้าร่วมขบวนต่อต้านการปกครองของ Lygdanis เมื่อลุงถูกตัดสินประหารชีวิต Herodotus ได้หลบหนีไปอาศัยอยู่ที่เกาะ Samos เป็นเวลา 8 ปี
เมื่อกษัตริย์จอมโหดถูกปลงพระชนม์ Herodotus ได้เดินทางกลับบ้านเกิดเมืองนอน แต่ได้พบว่าเจ้าเมืองใหม่ ยังทำตนเป็นศัตรู Herodotus จึงตัดสินใจหลบหนีจาก Halicarnassus อย่างถาวร และได้วางแผนเดินทางไปท่องเที่ยวในดินแดนต่างๆ ของโลก
เพราะ Athens ณ เวลานั้น คือศูนย์กลางวัฒนธรรม และอารยธรรมของโลก Herodotus จึงเดินทางไป Athens และได้พบเพื่อนใหม่หลายคน เช่น Sophocles กับ Pericles ผู้มีชื่อเสียงด้านการประพันธ์บทละคร และสถาปัตยกรรม ส่วน Herodotus ได้ยึดอาชีพเป็นคนอ่านผลงานเขียนของตนให้ชาวเมือง Athens ฟัง ซึ่งก็ได้ทำให้ชาวเมืองชื่นชม Herodotus มาก จนถึงกับขอเงินจากผู้บริหารนคร Athens มามอบให้ Herodotus เป็นค่าตอบแทน
การมีนิสัยรักการท่องเที่ยว ทำให้ Herodotus พักอยู่ที่ Athens ได้ไม่นาน จึงได้เดินทางไปท่องเที่ยวที่อียิปต์ตอนบน แล้วเดินทางต่อไป Babylon และ Susa ใน Persia จากนั้นได้ล่องเรือใน Black Sea ถึงปากแม่น้ำ Danube ผ่านแหลม Crimea แล้วลัดเลาะไปตามชายฝั่งของ Syria จนถึงประเทศ Libyaจากนั้นก็เดินทางกลับถึง Athens เมื่อปี 432 ก่อนคริสตกาล
Herodotus เสียชีวิตในอีก 17 ปีต่อมา
ในสมัยเมื่อ 600 ปีก่อนคริสตกาล กรีซมีนักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่หลายคน เช่น Heraclitus ผู้เคยกล่าวว่า มนุษย์จะต้องเรียนรู้ธรรมชาติของตน และสิ่งแวดล้อม ครั้นเมื่อ Heraclitus พบว่าชาติต่างๆ มีศีลธรรมที่แตกต่างกัน และมีวิธีคิดที่ไม่เหมือนกัน เขาจึงได้เสนอแนะให้คนกรีกเปลี่ยนแนวคิดจากการเชื่อศรัทธาในเทพเจ้ามาเป็นการตั้งคำถามหาเหตุผลสำหรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทุกเรื่อง โดย Heraclitus เชื่อว่าการสังเกตผล จะทำให้มนุษย์รู้สาเหตุ และใช้ความรู้ที่ได้คาดการณ์อนาคตได้
Thales แห่ง Miletus ก็เป็นปราชญ์อีกผู้หนึ่งในยุคเดียวกัน ผู้เชื่อว่า เอกภพมีการกำเนิด และการแตกดับ การศึกษาธรรมชาติอย่างเป็นระบบทำให้ Thales รู้ว่าอุปราคาต่างๆ เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แน่นอน เช่น Thales รู้ว่าได้เคยเกิดสุริยุปราคาเหนือ Asia Minor เมื่อ 585 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น
ส่วน Anaximander นั้น เป็นนักดาราศาสตร์ผู้พยายามเสาะหาความเป็นระบบของหมู่ดาวต่างๆ บนท้องฟ้า และเชื่อว่าธรรมชาติ กับสังคมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
Herodotus ใช้ชีวิตใน Athens โดยการเล่าเรื่องที่เกี่ยวกับชีวิต และผลงานของผู้คนในต่างแดน โดยได้เสริมเนื้อหาให้คนฟังรู้สึกสนุก มากกว่าจะมุ่งให้คนฟัง รู้ความจริงที่ Herodotus รู้จัก ดังนั้น วิธีเขียนประวัติศาสตร์ ของ Herodotus จึงมิใช่ประวัติศาสตร์ที่เรารู้จักในปัจจุบัน เพราะไม่แม่นยำ และถูกต้องในเชิงปริมาณและข้อมูล
จุดด้อยของ Herodotus อีกประเด็นหนึ่ง คือ การชอบอ้างเทพเจ้าว่ามีบทบาทในการกำหนดชะตาชีวิตของคน และเหตุการณ์ต่างๆ แต่เราก็ต้องตระหนักว่า คนในสมัยนั้นแทบทุกคนศรัทธาในเทพเจ้า ดังนั้นเมื่อ Herodotus ต้องการให้ผู้อ่านชื่นชม และสนุกกับเนื้อหาที่เขาเขียน เขาจึงอ้างเทพเจ้าบ่อย เช่น Herodotus เขียนว่า การที่กษัตริย์ Xerxes แห่งอาณาจักร Persia ทรงปราชัยในการทำสงครามกับกรีซ เพราะเทพเจ้า ไม่ประสงค์จะให้พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ปกครองทั้งยุโรป และเอเชีย เป็นต้น
ดังนั้นในภาพรวม ผลงานของ Herodotus คือ การสร้าง (เล่า) อดีตให้คนปัจจุบันได้รับรู้ และเก็บให้คนรุ่นหลังอ่าน และเข้าใจ เพราะเนื้อหาที่สมควรจะเล่ามีมาก และหลากหลาย Herodotus เองจึง กล่าวว่ามันเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ที่คนๆ เดียว จะสามารถบันทึกทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นได้หมด จะอย่างไรก็ตาม Herodotus คิดว่า กำลังใจและความกล้าหาญ คือ สาเหตุสำคัญที่จะทำให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง
ในหนังสือ History of the Persian Wars ที่ Herodotus เรียบเรียงนั้น เขาได้เล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 504 ปีก่อนคริสตกาลว่า เวลานั้นเป็นช่วงเวลาที่อาณาจักร Persia กำลังแผ่อำนาจและอิทธิพลเข้าสู่กรีซ และกษัตริย์ Persia ทรงบังคับให้ชาวกรีกส่งบรรณาการไปถวาย แต่ชาว Athens ขัดขืนไม่ยินยอม กษัตริย์ Darius จึงทรงกรีฑาทัพบุกกรีซ เมื่อ 490 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีจุดมุ่งหมายจะจับคนกรีกไปเป็นทาสรับใช้ในอาณาจักร Persia
เมื่อกองทัพที่เกรียงไกรของ Darius เดินทางถึงอ่าว Marathon ซึ่งอยู่ห่างจาก Athensประมาณ 40 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวเมือง Marathon ไม่คิดต่อสู้ เพราะไม่ต้องการจะเสียเลือดเนื้อ แต่ชาว Athens ไม่คิดเช่นนั้น
ทหาร Athens 11,000 คน (ซึ่งมีจำนวนน้อยกว่ากองทัพของ Darius) ภายใต้การนำของ Miltiades ได้ขอให้รัฐ Sparta ส่งทหารมาช่วย โดย Herodotus เล่าว่าผู้ครองนคร Athens ได้ให้นักวิ่งคนหนึ่งชื่อ Philippides วิ่งจาก Athens ไป Sparta เพื่อขอกำลังมาเสริม ในขณะเดียวกัน แต่ในกรีซก็มีเรื่องเล่าเช่นกันว่านักวิ่งชื่อ Pheidippides ได้วิ่งระยะทาง 35 กิโลเมตร จากสนามรบที่ Marathon ไป Athens เพื่อบอกชาวเมือง Athens ว่า กองทัพกรีซมีชัยชนะเหนือกองทัพ Persia และทันทีที่บอกข่าวจบ Pheidippides ก็ล้มลงและขาดใจตาย เรื่องเล่านี้ กับเรื่องที่ Herodotus เขียน มีนักวิ่งที่มีชื่อคล้ายกัน แต่จนกระทั่งทุกวันนี้ ก็ไม่มีใครมั่นใจว่า เรื่องใดจริง เรื่องใดโกหก หรือโกหกทั้งสองเรื่อง
จะอย่างไรก็ตามการพ่ายแพ้สงครามของกองทหาร Persia ครั้งนั้นได้ทำให้ Herodotus สรุปว่าเป็นจุดหักเหที่สำคัญของประวัติศาสตร์ยุโรป และเอเชีย
การพ่ายแพ้สงครามครั้งนั้นได้ทำให้กองทัพ Persia เสียขวัญมาก กษัตริย์ Darius ได้ทรงดำริจะส่งกองทัพมารุกรานกรีซอีก แต่พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เสียก่อน และกษัตริย์ Xerxes ผู้ทรงขึ้นครองราชย์แทน ได้ทรงคิดจะเข้าครอบครองอียิปต์แทน แต่ขุนนางชื่อ Mardonius ได้ทูลว่า กษัตริย์ Xerxes พระองค์ทรงมีพระบารมีสูงพอที่จะทรงเป็นกษัตริย์แห่งยุโรป และเอเชียได้ ดังนั้น กษัตริย์ Xerxes จึงทรงดำริจะยึดครองกรีซอีก ถึงอำมาตย์หลายคนจะไม่เห็นด้วย แต่ไม่มีใครกล้าทูลค้านกษัตริย์ Xerxes
เมื่อ 480 ปีก่อนคริสตกาล กองทัพของ Xerxes ได้เดินทางถึง Hellespont และ Herodotus ได้เขียนบรรยายว่า ทหาร Persia 15,000 คน ที่สวมเกราะทองคำได้เดินทาง 7 วัน 7 คืน มุ่งสู่กรีซ ทั้งๆ ที่เทพ Apollo ทรงเตือนว่า ถ้าทหารกรีกต่อสู้นั่นหมายถึงกองทัพ Persia จะพ่ายแพ้ แต่ Xerxes ทรงคิดว่า สังคมกรีกเป็นสังคมที่อ่อนแอ เพราะผู้คนมีความแตกแยกมาก และผู้ครองประเทศไม่มีนโยบายที่แน่นอน
แต่ Xerxes ทรงคิดผิด เพราะกองทัพกรีกภายใต้การนำของ Leonidas มีทหารกล้าตายเป็นจำนวนมาก โดย Leonidas ได้คัดเอาเลือกคนที่มีบุตรชายแล้วมาเป็นทหารทัพหน้า ส่วนคนที่เป็นโสด หรือยังไม่มีลูกชายสืบสกุล Leonidas ได้จัดให้อยู่ทัพหลัง
เมื่อถึงวันที่ 17 สิงหาคม เวลา 480 ปีก่อนคริสตกาล กองทหารของ Xerxes เข้ารบชนะกองทหารของ Leonidas และได้บุกเข้ากรุง Athens และเผามหาวิหาร Acropolis ในขณะที่เจ้าเมือง Athens ชื่อ Themistocles ได้สั่งให้ชาว Athens ออกจากบ้านเรือนของตน ไปรวมพลสู้ข้าศึกที่บริเวณนอกเมือง
ในวันที่ 20 กันยายน ปีเดียวกัน กองทหารชาว Athens ได้หลบไปอยู่ที่เกาะ Salamis และบุกเข้าทำลายกองทัพเรือของ Persia ลงได้อย่างราบคาบ และตั้งแต่นั้นมา ยุโรปก็ปลอดภัยจากการรุกรานของ Persia ซึ่งมีผลทำให้ Athens ได้กลายเป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจของยุโรป
นอกจากบทความประวัติศาสตร์แล้ว Herodotus ยังได้เขียนบทความเกี่ยวกับธรรมชาติเป็นจำนวนมากด้วย เช่น เรื่องจระเข้ ว่าสามารถอดอาหารได้นาน 4 เดือน แม้จะมีเท้า แต่ก็เป็นสัตว์ที่ใช้ชีวิตอยู่ในน้ำ และเมื่อถึงเวลาวางไข่ กลับขึ้นมาวางบนบก ในเวลากลางวันจระเข้ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนบก และเมื่อถึงเวลากลางคืนจะกลับลงอยู่ในน้ำ ไข่จระเข้มีขนาดใหญ่กว่าไข่ห่าน เมื่อลูกจระเข้ออกจากไข่ ลำตัวมีขนาดเล็ก แต่เมื่อโตเต็มที่ ลำตัวจะยาวตั้งแต่ 3-4 เมตร จระเข้มีตาเหมือนหมู มีฟันเป็นซี่ และเป็นสัตว์ชนิดเดียวที่ไม่มีลิ้น ถึงกรามล่างจะไม่ขยับเขยื้อน แต่กรามบนขยับได้ เล็บเท้าแข็งแรง หนังมีเกล็ด เมื่ออยู่ในน้ำ จระเข้จะมองอะไรไม่เห็น แต่เวลาอยู่บนบกสายตาจะดี ในปากจระเข้มีทากที่ทำหน้าที่ดูดเลือด และมีนก trochilus ที่ต้องพึ่งพาให้เข้าไปกินทากในปาก ดังนั้น จระเข้จะไม่ทำร้ายนกชนิดนี้เลย
ส่วนนกอีกชนิดหนึ่งที่ Herodotus กล่าวถึง คือ นก phoenix ที่ Herodotus เขียนว่า ตนไม่เคยเห็น แต่รู้ว่านกนี้จะถือกำเนิดในทุก 500 ปี ขนมีสีทอง และแดง รูปร่างคล้ายนกอินทรี มีถิ่นกำเนิดในประเทศ Arabia
ดังนั้น เราจึงเห็นได้ว่า เรื่องที่ Herodotus เขียน บางครั้งเป็นเรื่องเล่า บางครั้งเป็นเรื่องจริง และข้อมูลอาจผิดพลาดมาก แต่ในภาพรวมรายงานที่ Herodotus เขียนล้วนเป็นร้อยแก้วที่น่าสนใจ และอ่านสนุก
คุณหาอ่านเรื่องนี้เพิ่มเติมได้จาก Herodotus, The Persian Wars โดย Ernle Bradford ที่จัดพิมพ์โดย Macmillan (London ปี 1980)
ในวันที่ 20 กันยายน ปีเดียวกัน กองทหารชาว Athens ได้หลบไปอยู่ที่เกาะ Salamis และบุกเข้าทำลายกองทัพเรือของ Persia ลงได้อย่างราบคาบ และตั้งแต่นั้นมา ยุโรปก็ปลอดภัยจากการรุกรานของ Persia ซึ่งมีผลทำให้ Athens ได้กลายเป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจของยุโรป
นอกจากบทความประวัติศาสตร์แล้ว Herodotus ยังได้เขียนบทความเกี่ยวกับธรรมชาติเป็นจำนวนมากด้วย เช่น เรื่องจระเข้ ว่าสามารถอดอาหารได้นาน 4 เดือน แม้จะมีเท้า แต่ก็เป็นสัตว์ที่ใช้ชีวิตอยู่ในน้ำ และเมื่อถึงเวลาวางไข่ กลับขึ้นมาวางบนบก ในเวลากลางวันจระเข้ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนบก และเมื่อถึงเวลากลางคืนจะกลับลงอยู่ในน้ำ ไข่จระเข้มีขนาดใหญ่กว่าไข่ห่าน เมื่อลูกจระเข้ออกจากไข่ ลำตัวมีขนาดเล็ก แต่เมื่อโตเต็มที่ ลำตัวจะยาวตั้งแต่ 3-4 เมตร จระเข้มีตาเหมือนหมู มีฟันเป็นซี่ และเป็นสัตว์ชนิดเดียวที่ไม่มีลิ้น ถึงกรามล่างจะไม่ขยับเขยื้อน แต่กรามบนขยับได้ เล็บเท้าแข็งแรง หนังมีเกล็ด เมื่ออยู่ในน้ำ จระเข้จะมองอะไรไม่เห็น แต่เวลาอยู่บนบกสายตาจะดี ในปากจระเข้มีทากที่ทำหน้าที่ดูดเลือด และมีนก trochilus ที่ต้องพึ่งพาให้เข้าไปกินทากในปาก ดังนั้น จระเข้จะไม่ทำร้ายนกชนิดนี้เลย
ส่วนนกอีกชนิดหนึ่งที่ Herodotus กล่าวถึง คือ นก phoenix ที่ Herodotus เขียนว่า ตนไม่เคยเห็น แต่รู้ว่านกนี้จะถือกำเนิดในทุก 500 ปี ขนมีสีทอง และแดง รูปร่างคล้ายนกอินทรี มีถิ่นกำเนิดในประเทศ Arabia
ดังนั้น เราจึงเห็นได้ว่า เรื่องที่ Herodotus เขียน บางครั้งเป็นเรื่องเล่า บางครั้งเป็นเรื่องจริง และข้อมูลอาจผิดพลาดมาก แต่ในภาพรวมรายงานที่ Herodotus เขียนล้วนเป็นร้อยแก้วที่น่าสนใจ และอ่านสนุก
คุณหาอ่านเรื่องนี้เพิ่มเติมได้จาก Herodotus, The Persian Wars โดย Ernle Bradford ที่จัดพิมพ์โดย Macmillan (London ปี 1980)
4.socrates
ประวัติ
เกิดที่กรุงเอเธนส์ พ.ศ. 73-144 บิดาชื่อโซโฟรนิสคุส (Sophromiscus) เป็นช่างแกะสลัก มารดาชื่อเฟนารีท (Phaenarete) ก่อนท่านถูกประหารชีวิตในกรีก ได้รับการบันทึกไว้โดยละเอียดในบทสนทนาของฟลาโดชื่อ (Phaedo) เมื่อมีผู้ถามว่า ทำไมท่านจึงไม่กลัวความตาย ท่านตอบว่า เพราะท่านเชื่อว่า “วิญญาณของคนเราเป็นอมตะ ถ้าท่านตาย วิญญาณของท่านจะกลับสู่สรวงสวรรค์ ยิ่งไปกว่านั้นเหตุเพราะท่านเป็นนักปรัชญา ท่านอธิบายว่า นักปรัชญา คือ ผู้ที่แสวงหาความรู้ที่สมบูรณ์ แต่นักปรัชญาไม่มีวันเข้าถึงความรู้ที่สมบูรณ์ ถ้าหากเขายังมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ เพราะวิญญาณของเขาถูกคุมขังอยู่ในร่างกายจึงขาดอิสรภาพในอันเข้าถึงสัจธรรม การประสบความตาย คือการได้ปลดปล่อยวิญญาณจากเครื่องพันธนาการ เมื่อนั้นวิญญาณจะเข้าถึงความรู้ที่สมบูรณ์ นักปรัชญาผู้แสวงหาความรู้ที่สมบูรณ์จึงไม่กลัวความตาย”
การประหารชีวิตโสคราตีส เป็นตราบาปอันหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ของประชาธิปไตยชนชาติกรีก เพราะบางครั้งประชาธิปไตยก็เป็นเผด็จการโดยเสียงข้างมาก ศาลเอเธนส์สั่งประหารท่านด้วยใจอคติว่า ท่านคือโซฟิสต์ที่พวกตนเคียดแค้น ชาวเอเธนส์ฝ่ายอนุรัษ์นิยมเชื่อว่าท่านได้ทำลายกฏหมายประเพณี และวัฒนธรรมของชาวเอเธนส์ ในกรณีจากเรื่องนี้ได้ถูกสร้างเป็นบทละครหัสนาฏกรรมเรื่อง ”เมฆ” (The Clouds) ของอะริสโตฟาเนส ซึ่งได้ถูกเผยแพร่ในเอเธนส์ สมัยที่โสคราตีสยังมีชีวิตอยู่ นี่เป็นความเข้าใจผิดเพราะความเขลาของชาวเอเธนส์ แท้จริงแล้วโซคราตีสเป็นคนละพวกกับโซฟิสต์ ปรัชญาของโสคราตีสเกิดขึ้นมาก็เพื่อหักล้างคำสอนของพวกโซฟิสต์โดยตรง
โสคราตีส ได้ปฏิเสธปรัชญาธรรมชาติ เพราะความรู้เรื่องปฐมธาตุของโลก หรือจักรวาลมีประโยชน์น้อยมาก ความรู้เรื่องนี้ไม่ช่วยให้มนุษย์ดำเนินชีวิตได้ถูกต้องมากขึ้น ความรู้ที่นักปรัชญาแสวงหาควรเป็นความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และหน้าที่ของมนุษย์ เพราะมนุษย์สามารถนำความรู้เหล่านี้ไปปรับปรุงชีวิตให้ดีขึ้น ดังนั้นจุดมุ่งหมายของท่านอยู่ที่การปฏิบัติมากกว่าจะสร้างทฤษฎีทางอภิปรัชญา ท่านต่อต้านพวกโซฟิสต์เช่น โปรแทกอรัสสอนว่า ไม่มีมาตรการใใด ๆ เป็นเครื่องตัดสินความจริงและความดี อะไรที่ว่าจริงว่าดีเป็นเพียงทัศนะส่วนตัวของปัจเจกบุคคล โปรแทกอรัสปฏิเสธความจริงแบบปรนัย หรือความเป็นจริงสากลที่ทุกคนยอมรับ ซึ่งคำสอนนี้โสคราตีสแย้งว่า แม้ว่าความรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายของแต่ละคนจะขัดแย้งกันในบางครั้ง แต่นั่นไม่หมายความว่า จะไม่มีความจริงแบบปรนัยที่ทุกคนยอมรับร่วมกัน ความเป็นจริงสากลมีอยู่ แต่โซฟิสต์ค้นไม่พบ เพราะโซฟิสต์ยอมรับเพียง สัญชาน (Perception) ว่าเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ แต่สัญชานให้ความรู้อย่างจำกัด โซฟิสต์จึงไม่อาจเข้าถึงความรู้แท้ได้โดยอาศัยสัญชาน โสคราตีสมีทัศนะว่า เหตุผล (Reason) เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ที่ช่วยให้คนเราค้นพบความจริงแบบปรนัยหรือมโนภาพ (Concept) ของสิ่งทั้งหลาย
การประหารชีวิตโสคราตีส เป็นตราบาปอันหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ของประชาธิปไตยชนชาติกรีก เพราะบางครั้งประชาธิปไตยก็เป็นเผด็จการโดยเสียงข้างมาก ศาลเอเธนส์สั่งประหารท่านด้วยใจอคติว่า ท่านคือโซฟิสต์ที่พวกตนเคียดแค้น ชาวเอเธนส์ฝ่ายอนุรัษ์นิยมเชื่อว่าท่านได้ทำลายกฏหมายประเพณี และวัฒนธรรมของชาวเอเธนส์ ในกรณีจากเรื่องนี้ได้ถูกสร้างเป็นบทละครหัสนาฏกรรมเรื่อง ”เมฆ” (The Clouds) ของอะริสโตฟาเนส ซึ่งได้ถูกเผยแพร่ในเอเธนส์ สมัยที่โสคราตีสยังมีชีวิตอยู่ นี่เป็นความเข้าใจผิดเพราะความเขลาของชาวเอเธนส์ แท้จริงแล้วโซคราตีสเป็นคนละพวกกับโซฟิสต์ ปรัชญาของโสคราตีสเกิดขึ้นมาก็เพื่อหักล้างคำสอนของพวกโซฟิสต์โดยตรง
โสคราตีส ได้ปฏิเสธปรัชญาธรรมชาติ เพราะความรู้เรื่องปฐมธาตุของโลก หรือจักรวาลมีประโยชน์น้อยมาก ความรู้เรื่องนี้ไม่ช่วยให้มนุษย์ดำเนินชีวิตได้ถูกต้องมากขึ้น ความรู้ที่นักปรัชญาแสวงหาควรเป็นความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และหน้าที่ของมนุษย์ เพราะมนุษย์สามารถนำความรู้เหล่านี้ไปปรับปรุงชีวิตให้ดีขึ้น ดังนั้นจุดมุ่งหมายของท่านอยู่ที่การปฏิบัติมากกว่าจะสร้างทฤษฎีทางอภิปรัชญา ท่านต่อต้านพวกโซฟิสต์เช่น โปรแทกอรัสสอนว่า ไม่มีมาตรการใใด ๆ เป็นเครื่องตัดสินความจริงและความดี อะไรที่ว่าจริงว่าดีเป็นเพียงทัศนะส่วนตัวของปัจเจกบุคคล โปรแทกอรัสปฏิเสธความจริงแบบปรนัย หรือความเป็นจริงสากลที่ทุกคนยอมรับ ซึ่งคำสอนนี้โสคราตีสแย้งว่า แม้ว่าความรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายของแต่ละคนจะขัดแย้งกันในบางครั้ง แต่นั่นไม่หมายความว่า จะไม่มีความจริงแบบปรนัยที่ทุกคนยอมรับร่วมกัน ความเป็นจริงสากลมีอยู่ แต่โซฟิสต์ค้นไม่พบ เพราะโซฟิสต์ยอมรับเพียง สัญชาน (Perception) ว่าเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ แต่สัญชานให้ความรู้อย่างจำกัด โซฟิสต์จึงไม่อาจเข้าถึงความรู้แท้ได้โดยอาศัยสัญชาน โสคราตีสมีทัศนะว่า เหตุผล (Reason) เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ที่ช่วยให้คนเราค้นพบความจริงแบบปรนัยหรือมโนภาพ (Concept) ของสิ่งทั้งหลาย
สัญชานและจินตภาพ (Perception and Image)
สัญชาน ได้แก่ การกำหนดรู้ที่เกิดจากการกระทบระหว่างอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง กับอายตนะภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส และกายสัมผัส ดังนั้น สัญชานจึงเป็นความรู้ระดับผัสสะ ให้เราสามารถระบุชัดลงไปปว่า เรากำลังเห็นสิ่งนั้น หรือกำลังลิ้มรสดังกล่าวอยู่
จินตภาพ คือ ภาพของสิ่งเฉพาะที่ปรากฏในใจ ยกตัวอย่าง เราเห็นรูปร่างสิ่งของบางอย่างชัดเจนมาก ภาพของสิ่งของปรากฏแก่สายตาของเราเป็นสัญชาน ทีนี้เราลองหลับตาลง ภาพสิ่งของยังคงติดตาเราอยู่ แม้หลับตาแล้วก็ยังนึกวาดภาพถึงสิ่งของและลักษณะนั้นได้ ภาพสิ่งของที่เรา “นึกเห็น” ขึ้นมานี้คือ จินตภาพ
ดังนั้น ทั้งสัญชานและจินตภาพ จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะเท่านั้น
จินตภาพ คือ ภาพของสิ่งเฉพาะที่ปรากฏในใจ ยกตัวอย่าง เราเห็นรูปร่างสิ่งของบางอย่างชัดเจนมาก ภาพของสิ่งของปรากฏแก่สายตาของเราเป็นสัญชาน ทีนี้เราลองหลับตาลง ภาพสิ่งของยังคงติดตาเราอยู่ แม้หลับตาแล้วก็ยังนึกวาดภาพถึงสิ่งของและลักษณะนั้นได้ ภาพสิ่งของที่เรา “นึกเห็น” ขึ้นมานี้คือ จินตภาพ
ดังนั้น ทั้งสัญชานและจินตภาพ จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะเท่านั้น
เหตุผลและมโนภาพ (Reason and Concept)
ความรู้ประเภทนี้ไม่เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะที่เป็นรูปธรรม ความรู้ชนิดนั้นคือ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งสากล ให้สังเกตคำพูดสองประโยคดังต่อไปนี้ “โสคราตีสเป็นสัตว์ที่ต้องตาย“ และ “มนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องตาย” ผู้พูดประโยคแรกกำลังนึกถึงสิ่งเฉพาะ คือคน ๆ หนึ่งที่ชื่อโสคราตีส ในขณะที่พูดเขามีจินตภาพถึงปัจเจกบุคคล แต่ผู้พูดประโยคหลังไม่ได้กำลังนึกถึงปัจเจกบุคคลผู้ใดผู้หนึ่ง คำว่า “มนุษย์” ในประโยคนี้หมายถึง ประเภทของคนโดยทั่วไป นั่นคือ ผู้พูดกำลังนึกถึง”มนุษย์สากล” ที่รวมเอาลักษณะแก่นของคนทุกชาติทุกเผ่าพันธ์ เร่เรียกความนึกถึงสิ่งสากลทำนองนี้ว่า มโนภาพ (Consept) โศคราตีสถือว่า เหตุผลเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ในปรัชญาของโสคราตีส เหตุผลช่วยให้คนพบมโนภาพ ความรู้ทุกอย่างเป็นความรู้ที่ได้จากมโนภาพ คำอธิบายในตอนต้นว่า มโนภาพคือความรู้จักสิ่งสากล ดังนั้นความรู้ขั้นมโนภาพจึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งสากลที่ทุกคนยอมรับ เพราะทุกคนมีเหตุผล สิ่งสากลนั้นเป็นความจริงมาตรฐานที่ทุกคนมีสิทธิ์เข้าถึงได้ทุกคน ความรู้จึงไม่ใช่ทัศนะอัตนัย ท่านกล่าวว่า ความรู้คือการค้นพบความจริงแบบปรนัย หรือการเข้าถึงมโนภาพของสิ่งต่าง ๆ ดังนั้นเรามาลองคิดดูว่า “ ทำอย่างไรเราจึงจะค้นพบมโนภาพของสิ่งต่าง ๆ ได้ การค้นพบมโนภาพของสิ่งใดก็โดยอาศัยการสร้างความจำกัดความ (Definition) ของสิ่งนั้น เช่น เรานำเอาลักษณะของสุนัขทุกประเภทที่เหมือนกันเข้ามาไว้ในความจำกัดความ โดยไม่คิดถึงลักษณะที่แตกต่างประเภทต่างๆของสุนัข คำจำกัดความว่า”สุนัข”จะครอบคลุมประเภทของสุนัขทั้งหมด จึงกล่าวได้ว่า มโนภาพกับคำจำกัดความเป็นสิ่งเดียวกัน แต่มีข้อแตกต่างกันอยู่อย่างหนึ่ง คือมโนภาพเป็นความรู้จักสิ่งสากลที่ยังอยู่ในใจ แต่คำจำกัดความเป็นการบรรยายลักษณะของสิ่งสากลนั้นออกมาเป็นคำพูด โสคราตีสมักตั้งปัญหาถามคนทั่วไปว่า คุณธรรมคืออะไร ?ความยุติธรรมคืออะไร ? แล้วท่านจะเริ่มสนทนาแบบถาม-ตอบ เพื่อหาคำจำกัดความ ท่านกระตุ้นคนอื่นให้คิดอย่างมีระบบและเฉียบแหลม เพื่อให้เกิดมโนภาพและคำจำกัดความของสิ่งเหล่านั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ท่านเรียกงานของท่านว่า “การผดุงครรภ์ทางปัญญา”(Intellectual Midwifery) เทคนิคการ “ผดุงครรภ์” ของท่านมีชื่อเรียกว่า “วิธีของโสคราตีส”(Socratic Method) วิธีนี้คือ ศิลปการสนทนาที่ท่านใช้ในการสนทนาให้ดำเนินไปสู่คำตอบของปัญหาที่กำลังอภิปรายกัน วิธีนี้มีชื่อเรียกโดยทั่ไปว่า”วิภาษวิธี”(Dialectic) ซึ่งประกอบด้วยลักษณะ 5 ประการ คือ
1) สงสัย (Sceptical)
2) สนทนา (Conversational)
3) หาคำจำกัดความ (Definitional)
4) อุปนัย (Inductive)
5) นิรนัย (Deductive)
1) สงสัย (Sceptical)
2) สนทนา (Conversational)
3) หาคำจำกัดความ (Definitional)
4) อุปนัย (Inductive)
5) นิรนัย (Deductive)
โสคราตีส
(Socrates)
เกิดที่กรุงเอเธนส์ พ.ศ. 73-144 บิดาชื่อโซโฟรนิสคุส (Sophromiscus) เป็นช่างแกะสลัก มารดาชื่อเฟนารีท (Phaenarete) ก่อนท่านถูกประหารชีวิตในกรีก ได้รับการบันทึกไว้โดยละเอียดในบทสนทนาของฟลาโดชื่อ (Phaedo) เมื่อมีผู้ถามว่า ทำไมท่านจึงไม่กลัวความตาย ท่านตอบว่า เพราะท่านเชื่อว่า “วิญญาณของคนเราเป็นอมตะ ถ้าท่านตาย วิญญาณของท่านจะกลับสู่สรวงสวรรค์ ยิ่งไปกว่านั้นเหตุเพราะท่านเป็นนักปรัชญา ท่านอธิบายว่า นักปรัชญา คือ ผู้ที่แสวงหาความรู้ที่สมบูรณ์ แต่นักปรัชญาไม่มีวันเข้าถึงความรู้ที่สมบูรณ์ ถ้าหากเขายังมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ เพราะวิญญาณของเขาถูกคุมขังอยู่ในร่างกายจึงขาดอิสรภาพในอันเข้าถึงสัจธรรม การประสบความตาย คือการได้ปลดปล่อยวิญญาณจากเครื่องพันธนาการ เมื่อนั้นวิญญาณจะเข้าถึงความรู้ที่สมบูรณ์ นักปรัชญาผู้แสวงหาความรู้ที่สมบูรณ์จึงไม่กลัวความตาย”
การประหารชีวิตโสคราตีส เป็นตราบาปอันหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ของประชาธิปไตยชนชาติกรีก เพราะบางครั้งประชาธิปไตยก็เป็นเผด็จการโดยเสียงข้างมาก ศาลเอเธนส์สั่งประหารท่านด้วยใจอคติว่า ท่านคือโซฟิสต์ที่พวกตนเคียดแค้น ชาวเอเธนส์ฝ่ายอนุรัษ์นิยมเชื่อว่าท่านได้ทำลายกฏหมายประเพณี และวัฒนธรรมของชาวเอเธนส์ ในกรณีจากเรื่องนี้ได้ถูกสร้างเป็นบทละครหัสนาฏกรรมเรื่อง ”เมฆ” (The Clouds) ของอะริสโตฟาเนส ซึ่งได้ถูกเผยแพร่ในเอเธนส์ สมัยที่โสคราตีสยังมีชีวิตอยู่ นี่เป็นความเข้าใจผิดเพราะความเขลาของชาวเอเธนส์ แท้จริงแล้วโซคราตีสเป็นคนละพวกกับโซฟิสต์ ปรัชญาของโสคราตีสเกิดขึ้นมาก็เพื่อหักล้างคำสอนของพวกโซฟิสต์โดยตรง
โสคราตีส ได้ปฏิเสธปรัชญาธรรมชาติ เพราะความรู้เรื่องปฐมธาตุของโลก หรือจักรวาลมีประโยชน์น้อยมาก ความรู้เรื่องนี้ไม่ช่วยให้มนุษย์ดำเนินชีวิตได้ถูกต้องมากขึ้น ความรู้ที่นักปรัชญาแสวงหาควรเป็นความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และหน้าที่ของมนุษย์ เพราะมนุษย์สามารถนำความรู้เหล่านี้ไปปรับปรุงชีวิตให้ดีขึ้น ดังนั้นจุดมุ่งหมายของท่านอยู่ที่การปฏิบัติมากกว่าจะสร้างทฤษฎีทางอภิปรัชญา ท่านต่อต้านพวกโซฟิสต์เช่น โปรแทกอรัสสอนว่า ไม่มีมาตรการใใด ๆ เป็นเครื่องตัดสินความจริงและความดี อะไรที่ว่าจริงว่าดีเป็นเพียงทัศนะส่วนตัวของปัจเจกบุคคล โปรแทกอรัสปฏิเสธความจริงแบบปรนัย หรือความเป็นจริงสากลที่ทุกคนยอมรับ ซึ่งคำสอนนี้โสคราตีสแย้งว่า แม้ว่าความรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายของแต่ละคนจะขัดแย้งกันในบางครั้ง แต่นั่นไม่หมายความว่า จะไม่มีความจริงแบบปรนัยที่ทุกคนยอมรับร่วมกัน ความเป็นจริงสากลมีอยู่ แต่โซฟิสต์ค้นไม่พบ เพราะโซฟิสต์ยอมรับเพียง สัญชาน (Perception) ว่าเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ แต่สัญชานให้ความรู้อย่างจำกัด โซฟิสต์จึงไม่อาจเข้าถึงความรู้แท้ได้โดยอาศัยสัญชาน โสคราตีสมีทัศนะว่า เหตุผล (Reason) เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ที่ช่วยให้คนเราค้นพบความจริงแบบปรนัยหรือมโนภาพ (Concept) ของสิ่งทั้งหลาย
สัญชานและจินตภาพ (Perception and Image)
สัญชาน ได้แก่ การกำหนดรู้ที่เกิดจากการกระทบระหว่างอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง กับอายตนะภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส และกายสัมผัส ดังนั้น สัญชานจึงเป็นความรู้ระดับผัสสะ ให้เราสามารถระบุชัดลงไปปว่า เรากำลังเห็นสิ่งนั้น หรือกำลังลิ้มรสดังกล่าวอยู่
จินตภาพ คือ ภาพของสิ่งเฉพาะที่ปรากฏในใจ ยกตัวอย่าง เราเห็นรูปร่างสิ่งของบางอย่างชัดเจนมาก ภาพของสิ่งของปรากฏแก่สายตาของเราเป็นสัญชาน ทีนี้เราลองหลับตาลง ภาพสิ่งของยังคงติดตาเราอยู่ แม้หลับตาแล้วก็ยังนึกวาดภาพถึงสิ่งของและลักษณะนั้นได้ ภาพสิ่งของที่เรา “นึกเห็น” ขึ้นมานี้คือ จินตภาพ
ดังนั้น ทั้งสัญชานและจินตภาพ จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะเท่านั้น
เหตุผลและมโนภาพ (Reason and Concept)
ความรู้ประเภทนี้ไม่เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะที่เป็นรูปธรรม ความรู้ชนิดนั้นคือ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งสากล ให้สังเกตคำพูดสองประโยคดังต่อไปนี้ “โสคราตีสเป็นสัตว์ที่ต้องตาย“ และ “มนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องตาย” ผู้พูดประโยคแรกกำลังนึกถึงสิ่งเฉพาะ คือคน ๆ หนึ่งที่ชื่อโสคราตีส ในขณะที่พูดเขามีจินตภาพถึงปัจเจกบุคคล แต่ผู้พูดประโยคหลังไม่ได้กำลังนึกถึงปัจเจกบุคคลผู้ใดผู้หนึ่ง คำว่า “มนุษย์” ในประโยคนี้หมายถึง ประเภทของคนโดยทั่วไป นั่นคือ ผู้พูดกำลังนึกถึง”มนุษย์สากล” ที่รวมเอาลักษณะแก่นของคนทุกชาติทุกเผ่าพันธ์ เร่เรียกความนึกถึงสิ่งสากลทำนองนี้ว่า มโนภาพ (Consept) โศคราตีสถือว่า เหตุผลเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ในปรัชญาของโสคราตีส เหตุผลช่วยให้คนพบมโนภาพ ความรู้ทุกอย่างเป็นความรู้ที่ได้จากมโนภาพ คำอธิบายในตอนต้นว่า มโนภาพคือความรู้จักสิ่งสากล ดังนั้นความรู้ขั้นมโนภาพจึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งสากลที่ทุกคนยอมรับ เพราะทุกคนมีเหตุผล สิ่งสากลนั้นเป็นความจริงมาตรฐานที่ทุกคนมีสิทธิ์เข้าถึงได้ทุกคน ความรู้จึงไม่ใช่ทัศนะอัตนัย ท่านกล่าวว่า ความรู้คือการค้นพบความจริงแบบปรนัย หรือการเข้าถึงมโนภาพของสิ่งต่าง ๆ ดังนั้นเรามาลองคิดดูว่า “ ทำอย่างไรเราจึงจะค้นพบมโนภาพของสิ่งต่าง ๆ ได้ การค้นพบมโนภาพของสิ่งใดก็โดยอาศัยการสร้างความจำกัดความ (Definition) ของสิ่งนั้น เช่น เรานำเอาลักษณะของสุนัขทุกประเภทที่เหมือนกันเข้ามาไว้ในความจำกัดความ โดยไม่คิดถึงลักษณะที่แตกต่างประเภทต่างๆของสุนัข คำจำกัดความว่า”สุนัข”จะครอบคลุมประเภทของสุนัขทั้งหมด จึงกล่าวได้ว่า มโนภาพกับคำจำกัดความเป็นสิ่งเดียวกัน แต่มีข้อแตกต่างกันอยู่อย่างหนึ่ง คือมโนภาพเป็นความรู้จักสิ่งสากลที่ยังอยู่ในใจ แต่คำจำกัดความเป็นการบรรยายลักษณะของสิ่งสากลนั้นออกมาเป็นคำพูด โสคราตีสมักตั้งปัญหาถามคนทั่วไปว่า คุณธรรมคืออะไร ?ความยุติธรรมคืออะไร ? แล้วท่านจะเริ่มสนทนาแบบถาม-ตอบ เพื่อหาคำจำกัดความ ท่านกระตุ้นคนอื่นให้คิดอย่างมีระบบและเฉียบแหลม เพื่อให้เกิดมโนภาพและคำจำกัดความของสิ่งเหล่านั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ท่านเรียกงานของท่านว่า “การผดุงครรภ์ทางปัญญา”(Intellectual Midwifery) เทคนิคการ “ผดุงครรภ์” ของท่านมีชื่อเรียกว่า “วิธีของโสคราตีส”(Socratic Method) วิธีนี้คือ ศิลปการสนทนาที่ท่านใช้ในการสนทนาให้ดำเนินไปสู่คำตอบของปัญหาที่กำลังอภิปรายกัน วิธีนี้มีชื่อเรียกโดยทั่ไปว่า”วิภาษวิธี”(Dialectic) ซึ่งประกอบด้วยลักษณะ 5 ประการ คือ
1) สงสัย (Sceptical)
2) สนทนา (Conversational)
3) หาคำจำกัดความ (Definitional)
4) อุปนัย (Inductive)
5) นิรนัย (Deductive)
โสคราตีสกล่าวว่า “ความรู้ คือ คุณธรรม” (Knowledge of Virtue) นั่นคือ คนที่รู้จักความดีย่อมทำความดี เป็นไปไม่ได้ที่คนรู้ว่าความดีคืออะไรแล้วยังฝืนทำความชั่ว ส่วนที่คนทำความชั่วก็เพราะขาดความรู้ ถ้าคนเราได้รับการแนะนำที่ถูกต้องแล้วเขาาจะไม่ทำผิดเลย เหตุนั้น โสคราตีสจึงกล่าวว่า “ไม่มีใครทำผิดโดยจงใจ” เราจะเห็นว่าปรัชญาของโสคราตีสขัดแย้งอย่างตรงกันข้ามกับคำสอนของกลุ่มโซฟิสต์ ดังนั้นทฤษฎีความรู้ของโสคราตีส ซึ่งเป็นไปโดยหลักจริยศาสตร์และกล่าวว่า “ ความรู้คือคุณธรรม” นี่เป็นจุดอ่อน ท่านเชื่อว่า คนที่รู้จักความถูกต้องจะไม่กระทำผิด อาริสโตเติ้ล วิจารณ์โสคราตีสว่า คนเราใช่จะทำผิดเพราะความไม่รู้จักความถูกต้องเสมอไป บางคนทำผิดเพราะเขาไม่ยับยั้งใจตัวเอง อีกอย่างโสคราตีสเฉพาะตัวของท่านแล้ว เป็นคนที่มีเหตุผลสูงสามารถควบคุมอารมณ์ได้ทุกสถานการณ์ อะไรที่ทท่านเห็นว่าถูกต้องท่านจะทำโดยไม่ลังเล ขนาดยอมให้เขาประหารชีวิต แต่ไมม่ยอมทิ้งหลักการของตน อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาโดยส่วนรวมแล้ว ปรัชญาของโสคราตีสได้ส่งผลกระทบอย่างแรงต่อคำสอนของพวกโซฟิสต์ ต่อมาพลาโต้ได้กรัหน่ำซ้ำ จนคำสอนของโซฟิสต์ถึงสภาวะสลายตัวในที่สุด
การประหารชีวิตโสคราตีส เป็นตราบาปอันหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ของประชาธิปไตยชนชาติกรีก เพราะบางครั้งประชาธิปไตยก็เป็นเผด็จการโดยเสียงข้างมาก ศาลเอเธนส์สั่งประหารท่านด้วยใจอคติว่า ท่านคือโซฟิสต์ที่พวกตนเคียดแค้น ชาวเอเธนส์ฝ่ายอนุรัษ์นิยมเชื่อว่าท่านได้ทำลายกฏหมายประเพณี และวัฒนธรรมของชาวเอเธนส์ ในกรณีจากเรื่องนี้ได้ถูกสร้างเป็นบทละครหัสนาฏกรรมเรื่อง ”เมฆ” (The Clouds) ของอะริสโตฟาเนส ซึ่งได้ถูกเผยแพร่ในเอเธนส์ สมัยที่โสคราตีสยังมีชีวิตอยู่ นี่เป็นความเข้าใจผิดเพราะความเขลาของชาวเอเธนส์ แท้จริงแล้วโซคราตีสเป็นคนละพวกกับโซฟิสต์ ปรัชญาของโสคราตีสเกิดขึ้นมาก็เพื่อหักล้างคำสอนของพวกโซฟิสต์โดยตรง
โสคราตีส ได้ปฏิเสธปรัชญาธรรมชาติ เพราะความรู้เรื่องปฐมธาตุของโลก หรือจักรวาลมีประโยชน์น้อยมาก ความรู้เรื่องนี้ไม่ช่วยให้มนุษย์ดำเนินชีวิตได้ถูกต้องมากขึ้น ความรู้ที่นักปรัชญาแสวงหาควรเป็นความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และหน้าที่ของมนุษย์ เพราะมนุษย์สามารถนำความรู้เหล่านี้ไปปรับปรุงชีวิตให้ดีขึ้น ดังนั้นจุดมุ่งหมายของท่านอยู่ที่การปฏิบัติมากกว่าจะสร้างทฤษฎีทางอภิปรัชญา ท่านต่อต้านพวกโซฟิสต์เช่น โปรแทกอรัสสอนว่า ไม่มีมาตรการใใด ๆ เป็นเครื่องตัดสินความจริงและความดี อะไรที่ว่าจริงว่าดีเป็นเพียงทัศนะส่วนตัวของปัจเจกบุคคล โปรแทกอรัสปฏิเสธความจริงแบบปรนัย หรือความเป็นจริงสากลที่ทุกคนยอมรับ ซึ่งคำสอนนี้โสคราตีสแย้งว่า แม้ว่าความรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายของแต่ละคนจะขัดแย้งกันในบางครั้ง แต่นั่นไม่หมายความว่า จะไม่มีความจริงแบบปรนัยที่ทุกคนยอมรับร่วมกัน ความเป็นจริงสากลมีอยู่ แต่โซฟิสต์ค้นไม่พบ เพราะโซฟิสต์ยอมรับเพียง สัญชาน (Perception) ว่าเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ แต่สัญชานให้ความรู้อย่างจำกัด โซฟิสต์จึงไม่อาจเข้าถึงความรู้แท้ได้โดยอาศัยสัญชาน โสคราตีสมีทัศนะว่า เหตุผล (Reason) เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ที่ช่วยให้คนเราค้นพบความจริงแบบปรนัยหรือมโนภาพ (Concept) ของสิ่งทั้งหลาย
สัญชานและจินตภาพ (Perception and Image)
สัญชาน ได้แก่ การกำหนดรู้ที่เกิดจากการกระทบระหว่างอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง กับอายตนะภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส และกายสัมผัส ดังนั้น สัญชานจึงเป็นความรู้ระดับผัสสะ ให้เราสามารถระบุชัดลงไปปว่า เรากำลังเห็นสิ่งนั้น หรือกำลังลิ้มรสดังกล่าวอยู่
จินตภาพ คือ ภาพของสิ่งเฉพาะที่ปรากฏในใจ ยกตัวอย่าง เราเห็นรูปร่างสิ่งของบางอย่างชัดเจนมาก ภาพของสิ่งของปรากฏแก่สายตาของเราเป็นสัญชาน ทีนี้เราลองหลับตาลง ภาพสิ่งของยังคงติดตาเราอยู่ แม้หลับตาแล้วก็ยังนึกวาดภาพถึงสิ่งของและลักษณะนั้นได้ ภาพสิ่งของที่เรา “นึกเห็น” ขึ้นมานี้คือ จินตภาพ
ดังนั้น ทั้งสัญชานและจินตภาพ จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะเท่านั้น
เหตุผลและมโนภาพ (Reason and Concept)
ความรู้ประเภทนี้ไม่เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะที่เป็นรูปธรรม ความรู้ชนิดนั้นคือ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งสากล ให้สังเกตคำพูดสองประโยคดังต่อไปนี้ “โสคราตีสเป็นสัตว์ที่ต้องตาย“ และ “มนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องตาย” ผู้พูดประโยคแรกกำลังนึกถึงสิ่งเฉพาะ คือคน ๆ หนึ่งที่ชื่อโสคราตีส ในขณะที่พูดเขามีจินตภาพถึงปัจเจกบุคคล แต่ผู้พูดประโยคหลังไม่ได้กำลังนึกถึงปัจเจกบุคคลผู้ใดผู้หนึ่ง คำว่า “มนุษย์” ในประโยคนี้หมายถึง ประเภทของคนโดยทั่วไป นั่นคือ ผู้พูดกำลังนึกถึง”มนุษย์สากล” ที่รวมเอาลักษณะแก่นของคนทุกชาติทุกเผ่าพันธ์ เร่เรียกความนึกถึงสิ่งสากลทำนองนี้ว่า มโนภาพ (Consept) โศคราตีสถือว่า เหตุผลเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ในปรัชญาของโสคราตีส เหตุผลช่วยให้คนพบมโนภาพ ความรู้ทุกอย่างเป็นความรู้ที่ได้จากมโนภาพ คำอธิบายในตอนต้นว่า มโนภาพคือความรู้จักสิ่งสากล ดังนั้นความรู้ขั้นมโนภาพจึงเป็นความรู้เกี่ยวกับสิ่งสากลที่ทุกคนยอมรับ เพราะทุกคนมีเหตุผล สิ่งสากลนั้นเป็นความจริงมาตรฐานที่ทุกคนมีสิทธิ์เข้าถึงได้ทุกคน ความรู้จึงไม่ใช่ทัศนะอัตนัย ท่านกล่าวว่า ความรู้คือการค้นพบความจริงแบบปรนัย หรือการเข้าถึงมโนภาพของสิ่งต่าง ๆ ดังนั้นเรามาลองคิดดูว่า “ ทำอย่างไรเราจึงจะค้นพบมโนภาพของสิ่งต่าง ๆ ได้ การค้นพบมโนภาพของสิ่งใดก็โดยอาศัยการสร้างความจำกัดความ (Definition) ของสิ่งนั้น เช่น เรานำเอาลักษณะของสุนัขทุกประเภทที่เหมือนกันเข้ามาไว้ในความจำกัดความ โดยไม่คิดถึงลักษณะที่แตกต่างประเภทต่างๆของสุนัข คำจำกัดความว่า”สุนัข”จะครอบคลุมประเภทของสุนัขทั้งหมด จึงกล่าวได้ว่า มโนภาพกับคำจำกัดความเป็นสิ่งเดียวกัน แต่มีข้อแตกต่างกันอยู่อย่างหนึ่ง คือมโนภาพเป็นความรู้จักสิ่งสากลที่ยังอยู่ในใจ แต่คำจำกัดความเป็นการบรรยายลักษณะของสิ่งสากลนั้นออกมาเป็นคำพูด โสคราตีสมักตั้งปัญหาถามคนทั่วไปว่า คุณธรรมคืออะไร ?ความยุติธรรมคืออะไร ? แล้วท่านจะเริ่มสนทนาแบบถาม-ตอบ เพื่อหาคำจำกัดความ ท่านกระตุ้นคนอื่นให้คิดอย่างมีระบบและเฉียบแหลม เพื่อให้เกิดมโนภาพและคำจำกัดความของสิ่งเหล่านั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ท่านเรียกงานของท่านว่า “การผดุงครรภ์ทางปัญญา”(Intellectual Midwifery) เทคนิคการ “ผดุงครรภ์” ของท่านมีชื่อเรียกว่า “วิธีของโสคราตีส”(Socratic Method) วิธีนี้คือ ศิลปการสนทนาที่ท่านใช้ในการสนทนาให้ดำเนินไปสู่คำตอบของปัญหาที่กำลังอภิปรายกัน วิธีนี้มีชื่อเรียกโดยทั่ไปว่า”วิภาษวิธี”(Dialectic) ซึ่งประกอบด้วยลักษณะ 5 ประการ คือ
1) สงสัย (Sceptical)
2) สนทนา (Conversational)
3) หาคำจำกัดความ (Definitional)
4) อุปนัย (Inductive)
5) นิรนัย (Deductive)
โสคราตีสกล่าวว่า “ความรู้ คือ คุณธรรม” (Knowledge of Virtue) นั่นคือ คนที่รู้จักความดีย่อมทำความดี เป็นไปไม่ได้ที่คนรู้ว่าความดีคืออะไรแล้วยังฝืนทำความชั่ว ส่วนที่คนทำความชั่วก็เพราะขาดความรู้ ถ้าคนเราได้รับการแนะนำที่ถูกต้องแล้วเขาาจะไม่ทำผิดเลย เหตุนั้น โสคราตีสจึงกล่าวว่า “ไม่มีใครทำผิดโดยจงใจ” เราจะเห็นว่าปรัชญาของโสคราตีสขัดแย้งอย่างตรงกันข้ามกับคำสอนของกลุ่มโซฟิสต์ ดังนั้นทฤษฎีความรู้ของโสคราตีส ซึ่งเป็นไปโดยหลักจริยศาสตร์และกล่าวว่า “ ความรู้คือคุณธรรม” นี่เป็นจุดอ่อน ท่านเชื่อว่า คนที่รู้จักความถูกต้องจะไม่กระทำผิด อาริสโตเติ้ล วิจารณ์โสคราตีสว่า คนเราใช่จะทำผิดเพราะความไม่รู้จักความถูกต้องเสมอไป บางคนทำผิดเพราะเขาไม่ยับยั้งใจตัวเอง อีกอย่างโสคราตีสเฉพาะตัวของท่านแล้ว เป็นคนที่มีเหตุผลสูงสามารถควบคุมอารมณ์ได้ทุกสถานการณ์ อะไรที่ทท่านเห็นว่าถูกต้องท่านจะทำโดยไม่ลังเล ขนาดยอมให้เขาประหารชีวิต แต่ไมม่ยอมทิ้งหลักการของตน อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาโดยส่วนรวมแล้ว ปรัชญาของโสคราตีสได้ส่งผลกระทบอย่างแรงต่อคำสอนของพวกโซฟิสต์ ต่อมาพลาโต้ได้กรัหน่ำซ้ำ จนคำสอนของโซฟิสต์ถึงสภาวะสลายตัวในที่สุด
แหล่งที่มา
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น